Untitled Document
:: ข้อมูลหลักเว็บไซต์
หน้าแรกเว็บไซต์
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประมูลจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศราคากลาง
ผู้ชนะเสนอราคา
ประกาศผลจัดซื้อจ้าง
ผลงาน/ภาพกิจกรรม
เว็บบอร์ด
ร้องทุกข์-ร้องเรียน
ติดต่อเจ้าหน้าที่
 
:: ข้อมูลทั่วไป อบต.
ประวัติตำบล
วิสัยทัศน์/คำขวัญ/พันธกิจ
สภาพทั่วไป
สภาพทางเศรษฐกิจ
สภาพทางสังคม
การบริการพื้นฐาน
ศักยภาพในตำบล
โครงสร้างการบริหารงานและอำนาจหน้าที่
โครงสร้างองค์กร
ข้อมูลการติดต่อ
ติดต่อเจ้าหน้าที่
ระบบ E-Service
Q&A ถาม - ตอบ
โครงสร้างข้าราชการทางการเมือง
 
:: บุคลากร - เจ้าหน้าที่
ทดสอบ
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภา อบต.
กองการศึกษา
กองช่าง
กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
สำนักปลัด
หัวหน้าส่วนราชการ
กองคลัง
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
คู่มือมาตรฐานการให้บริการสำหรับประชาชน
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน (การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ อบต.ป่าสัก ในปี พ.ศ. 2566)
คู่มือ แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ กระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต/แจ้งเบาะแส ด้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
คู่มือการปฏิบัติงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คู่มือการบันทึกข้อมูล e-GP เพื่อรองรับมาตรการเร่งรัดเบิกจ่าย
กฏกระทรวงว่าด้วยการควบคุมป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดตั้งป้ายตามกฏหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย ปปช.2561
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลและที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน
การจัดทำแผนฉบับที่ 2
การจัดทำแผนฉบับที่ 1
 
งานการเจ้าหน้าที่
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖
แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
การดำเนินการตามนโยบายและแผนการบริหารทรัพยากรบุคล รอบ 6 เดือน ปีงบประมาณ 2566 (ต.ค.65 - มี.ค.66)
การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ประมวลจริยธรรมพนักงานส่วนท้องถิ่น
ประมวลจริยธรรมข้าราชการพนักงานส่วนท้องถิ่น
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2566
- การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร / การบรรจุและแต่งตั้งบุลากร
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาบุคลากร
การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ
ประมวลจริยธรรมสมาชิกสภาท้องถิ่น
ประมวลจริยธรรมผู้บริหารท้องถิ่น
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
ประกาศนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2565
ประกาศ ก.จ. และ ก.อบต. เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการฯ
ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรื่องมาตรญานทั่วไปเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคัดเลือก การบรรจะและแต่งตั้ง การย้าย การโอน การเลื่อนระดับ และการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ. 2544และที่แก้ไขเพิ่มเิตม
ประกาศ ก.ถ. เรื่องกำหนดมาตรฐานกลางบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (หมวด 4 การสรรหาบุคคล)
แผนการพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 -2566
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2564
ประมวลจริยธรรมของข้าราชการ ประจำปีงบประมาณ 2564
ระเบียบการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำและพนักงานจ้างของ อบต.ป่าสัก
คำอธิบายการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนท้องถิ่นตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล
 
:: แผนพัฒนา 4 ปี
ประกาศองค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก เรื่อง ประกาศใช้แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2566 – 2570)
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 รอบ 6 เดือน จากระบบ e-PlanNACC
ผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2566-2570)
ผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงาน การติดตามเเละประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แผนพัฒนา 4 ปี (พ.ศ.2566-2570)
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
การติดตามและประเมินผลพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2565) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก
แผนพัฒนาหน่วยงาน 4 ปี (2561-2565)
ติดตามเเละประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ติดตามเเละประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
 
:: แผนการดำเนินงาน
แผนดำเนินงาน งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2568
แผนอัตรากำลัง ๓ ปี
แผนและความก้าวหน้าในการดำเนินงานฯ (รายงานผลการดำเนินงาน และการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567) (รอบ 6 เดือน)
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต พ.ศ. 2567
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี พ.ศ. 2566
แผนดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ผลการปฏิบัติงานดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ผลการปฏิบัติงานดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
รายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน และประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริต ประจำปี 2566 รอบ 6 เดือน (ต.ค.65 - มี.ค.66)
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้งบประมาณ ประจำปี 2566 รอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี พ.ศ.2565
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2566
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต และประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ 2566
รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี 2565 รอบ 6 เดือน
แผนการประเิมนความเสี่ยงการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงาน ประจำปี พ.ศ. 2564
แผนดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ประจำปี พ.ศ. 2564
แผนป้องกันการทุจริต 2565
รายงานแผนป้องกันการทุจริต พ.ศ. 2565(รอบ 6 เดือน)
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปี 2564 รอบ 12 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัรการทุขริตของ อบต.ป่าสัก พ.ศ. 2564 รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2564 รอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสำคัญ ปี 2564
รายงานฯโครงการสำรจข้อมูลสัตว์ และขึ้นทะเบียนสัตว์ ปี 64
รายงานผลการดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ปี 2564
รายงานผลโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าฯ ปีงบฯ 64
รายงานผลการดำเนินงานความสัมพันธ์ในครอบครัวปีงบประมาณ 2563
แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แผนบริหารจัดการความเสี่ยงประจำปีฯ 2564
 
:: งบประมาณรายจ่ายประจำปี
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2568
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2567
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
:: แผนการตรวจสอบภายใน
ประจำปี
แผนการตรวจสอบภายในระยะยาว สำหรับงวด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 - พ.ศ. 2571
แผนการตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
กฏบัตรการตรวจสอบภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก ฯ
นโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบภายใน
การติดตามการายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อเสนอแนะของหน่วยตรวจสอบภายใน
นโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ประจำปี พ.ศ.2567
กฏบัตรการตรวจสอบภายใน ประจำปี พ.ศ. 2567
ขอบเขตการตรวจสอบแผนการตรวจสอบภายใน ประจำปี พ.ศ. 2567
แผนการตรวจสอบภายใน ประจำปี พ.ศ. 2567
แผนการตรวจสอบภายใน ประจำปี พ.ศ. 2566
กฏบัตรการตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
นโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน หัวหน้าตรวจสอบภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก
ทบทวนกฏบัตรการตรวจสอบภายใน
นโยบายและข้ันตอนการตรวจสอบภายใน
รายละเอียดประกอบแผนระยะยาว
แผนการตรวจสอบ ระยะยาว 2563-2567
รายละเอียดประกอบแผนการตรวจสอบ
 
:: รายงานทางการเงิน
รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างของ องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ประกาศรายงานผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ประกาศรายงานการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไตรมาสที่ 2
ประกาศงบแสดงฐานะทางการเงินและงบอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2566
ประกาศรายงานงบรับ-จ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ประกาศเรื่องรายงานเงินสะสมและเงินทุนสำรองเงินสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566
ประกาศรายงานการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ไตรมาสที่ 1
ประกาศรายงานผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2565
ประกาศ อบต.ป่าสัก เรื่องงบแสดงฐานะทางการเงินและงบอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2565
ประกาศรายงานงบรับ-จ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประกาศรายงานผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2564
ประกาศรายงานแสดงผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประกาศรายงานแสดงผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประกาศ อบต.ป่าสัก เรื่องงบแสดงฐานะทางการเงินและงบอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2564
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รายจ่าย)
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รายรับ)
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายงานผลการดำเนินงาน รายไตรมาสที่ 2) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
 
:: เอกสารดาวน์โหลด
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน
คู่มือปฏิบัติงานด้านภาษีป้าย
การดำเนินการตามการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก เรื่อง การติดตั้งบ่อดักไขมันบำบัดน้ำเสียในอาคาร
รายงานสรุปผลแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของ อบต.ป่าสัก ประจำปีงบประมาณ 2564
บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
รายงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ITA ปี 2563
รายงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ITA ปี 2562
สรุปรายงานผลเเบบสอบถามความพึงพอใจ ประจำปี 2563
สรุปผลการดำเนินงานแผนพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ 2563
คู่มือการบริหารความเสี่ยง พ.ศ.2564
แผนการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
คู่มือการบริหารความเสี่ยง พ.ศ.2563
รายงานสถิติการรับเรืองร้องเรียน /แจ้งเบาะแสการทุจริตและประพฤติมิชิบปี พ.ศ. 2564 (รอบเดือน มกราคม - เดือนมีนาคม )
รายงานสถิติการรับเรื่องร้องเรียน/แจ้งเบาะแส การทุจริตและประพฤติมิชอบ ปี พ.ศ. 2563
ประกาศนโยบายบริหารความเสี่ยง
นโยบายบริหารความเสี่ยงองค์กร
มาตราฐานคุณธรรมเเละจริยธรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก
รายงานสถิติการรับแจ้งเรื่องร้องเรียน/แจ้งเบาะแส การทุจริตและประพฤติมิชอบ
รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ อบต.ป่าสัก
แผนการปฏิบัติการป้องกันเเละการทุจริต 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564)
แบบฟอร์มยื่นภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ตัวอย่างแบบฟอร์มต่าง ๆ
คู่มือการประเมิน ปี 2562
ฟอร์มแบบประเมินพนักงานจ้างทั่วไป ปี 2562
แผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ศูนย์ยุติธรรมชุมชน
หนังสือแจ้งการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานส่วนท้องถิ่น
แบบแสดงรายการภาษีบำรุงท้องที่
แบบฟอร์มยื่นชำระภาษีป้าย
แบบฟอร์มจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า)
 
 
 
:: วารสารประจำเดือน
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2567
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2567
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2567
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กรกฏาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2566
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2565
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน เมษายน พ.ศ. 2564
จดหมายข่าวประชาสัมพันธ์ ประจำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2564
 
:: คลิป VDO อบต.
• ยังไม่มีข้อมูล
 
 

        อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผู้นำอาเซียนได้ร่วมลงนาม
ในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ
        จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และสำเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลา
จัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปทำงานในประเทศ อื่นๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรีเสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน
         ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทำของคนไทย ควรทำความเข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน

 
 
ความเป็นมาของอาเซียน
       สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ตามลำดับ จึงทำให้ปัจจุบันอาเซียน มีสมาชิก 10 ประเทศ
 
“อาเซียน” สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558
       ปัจจุบัน บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกทั้ง ยังมีความจำเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้นำอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงได้ประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่งกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่
       - ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community - APSC) มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาระหว่างกันโดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
       - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้โดย
       - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาร โดยจะมีแผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
       ซึ่งต่อมาผู้นำอาเซียนได้ตกลงให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้นมาเป็นภายในปี 2558
 
ประชาคมอาเซียน คือ
       ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตัวของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
 
จุดประสงค์หลักของอาเซียน
       ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
       1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
       2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
       3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
       4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
       5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
       6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
       7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ
 
ภาษาอาเซียน
       ภาษาทางการที่ใช้ในการติดต่อประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก คือ ภาษาอังกฤษ
 
คำขวัญของอาเซียน
       "หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม”
      (One Vision, One Identity, One Community)
 
อัตลักษณ์อาเซียน
       อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นเจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
 
 
สัญลักษณ์อาเซียน
       คือ ดวงตราอาเซียนเป็น
       รูปมัดรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นวงกลม
       สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาว และสีน้ำเงิน
       รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ ให้มีอาเซียนที่ผูกพันกันอย่างมีมิตรภาพและเป็นหนึ่งเดียว
       วงกลม เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
       ตัวอักษรคำว่า asean สีน้ำเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
       สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
       สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
       สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
       สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
 
ธงอาเซียน
       ธงอาเซียนเป็นธงพื้นสีน้ำเงิน มีดวงตราอาเซียนอยู่ตรงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และพลวัตของอาเซียน
สีของธงประกอบด้วย สีน้ำเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีหลักในธงชาติของบรรดาประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้งหมด
 
วันอาเซียน
       ให้วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวันอาเซียน
 
เพลงประจำอาเซียน (ASEAN Anthem)
       คือ เพลง ASEAN WAY
 
กฎบัตรอาเซียน
       กฎบัตรอาเซียน กำหนดให้อาเซียนและประเทศสมาชิกปฏิบัติตามหลักการดังต่อไปนี้
       1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งปวง
       2. ผูกพันและรับผิดชอบร่วมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งของภูมิภาค
       3. ไม่รุกรานหรือข่มขู่ว่าจะใช้กำลังหรือการกระทำอื่นใดในลักษณะที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ
       4. ระงับข้อพิพาทโดยสันติ
       5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
       6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธำรงประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อนทำลาย และการบังคับจากภายนอก
       7. ปรึกษาหารือที่เพิ่มพูนขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน
       8. ยึดมั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
       9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม
       10. ยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ
       11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดนหรือเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน
       12. เคารพในวัฒนธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของประชาชนอาเซียน
       13. มีส่วนร่วมกับอาเซียนในการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอกทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยไม่ปิดกั้นและไม่เลือกปฏิบัติ
       14. ยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียน
 
ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจาก AEC (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
       ประชาคมอาเซียนที่จะถือกำเนิดในปี 2558 นั้น คนไทยจะได้ประโยชน์อะไร แน่นอนเราคงอยากทราบ แต่ในชั้นนี้ขอจำกัดเฉพาะทางเศรษฐกิจก่อน

        ประการแรก ไทยจะ “มีหน้ามีตาและฐานะ” เด่นขึ้นประชาคมอาเซียนจะทำให้เศรษฐกิจ “ของเรา” มีมูลค่ารวมกัน 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อันดับ 9 ของโลก ยังประโยชน์แก่คนไทยทุกคนที่จะได้ยืนอย่างสง่างาม “ยิ้มสยาม” จะคมชัดขึ้น

       ประการที่สอง การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนจะคล่องและขยายตัวมากขึ้น กำแพงภาษีจะลดลงจนเกือบจะหมดไป เพราะ 10 ตลาดกลายเป็นตลาดเดียว ผู้ผลิตจะส่งสินค้าไปขายในตลาดนี้และขยับขยายธุรกิจของตนง่ายขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็จะมีทางเลือกมากขึ้นราคาสินค้าจะถูกลง

       ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญ่ขึ้น แทนที่จะเป็นตลาดของคน 67 ล้านคน ก็จะกลายเป็นตลาดของคน 590 ล้านคน ซึ่งจะทำให้ไทยกลายเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจ เพราะสินค้าที่ผลิตในประเทศไทยสามารถส่งออกไปยังอีกเก้าประเทศได้ราวกับส่งไปขายต่างจังหวัด ซึ่งก็จะช่วยให้เราสามารถแข่งขันกับจีนและอินเดียในการดึงดูดการลงทุนได้มากขึ้น

        ประการที่สี่ ความเป็นประชาคมจะทำให้มีการพัฒนาเครือข่ายการสื่อสารคมนาคมระหว่างกันเพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน แต่ก็ยังผลพลอยได้ในแง่การไปมาหาสู่กัน ซึ่งก็จะช่วยให้คนในอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์กัน รู้จักกัน และสนิทแน่นแฟ้นกันมากขึ้น เป็นผลดีต่อสันติสุข ความเข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยรวม นับเป็นผลทางสร้างสรรค์ในหลายมิติด้วยกัน

       ประการที่ห้า โดยที่ ไทยตั้งอยู่ในจุดกึ่งกลางบนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่อาเซียน ประเทศไทยย่อมได้รับประโยชน์จากปริมาณการคมนาคมขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับจีน (และอินเดีย) มากยิ่งกว่าประเทศอื่นๆ บริษัทด้านขนส่ง คลังสินค้า ปั๊มน้ำมัน ฯลฯ จะได้รับประโยชน์อย่างชัดเจน จริงอยู่ ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกและลบต่อประเทศไทย ขึ้นอยู่กับพวกเราคนไทยจะเตรียมตัวอย่างไร แต่ผลทางบวกนั้นจะชัดเจน เป็นรูปธรรมและจับต้องได้

ที่มา : มติชน

 


เว็บไซต์นี้มีการจัดเก็บคุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดียิ่งขึ้น


     องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 57150
     โทร : 053-955050 โทรสาร : 053-955541

     จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ 9240 ครั้ง
     Last Update 2024 องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก ออกแบบและพัฒนาโดย : เชียงรายเอ็นเทอร์ซอฟต์